แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3
จำนวนอตรรกยะ
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ภาคเรียนที่ 2
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริง เวลา 3 ชั่วโมง
1. สาระสำคัญ
จำนวนอตรรกยะ คือ
จำนวนที่ไม่สามารถเขียนแทนได้ในรูปเศษส่วน a/b เมื่อ
a และ b เป็นจำนวนเต็มที่ b ≠ o
2. ตัวชี้วัดชั้นปี
1. เขียนเศษส่วนในรูปทศนิยมและเขียนทศนิยมซ้ำในรูปเศษส่วน
(ค 1.1 ม.
2/1)
2. จำแนกจำนวนจริงที่กำหนดให้
และยกตัวอย่างจำนวนตรรกยะและจำนวนอตรรกยะ
(ค 1.1 ม.
2/2)
3. อธิบายและระบุรากที่สองและรากที่สามของจำนวนจริง (ค
1.1 ม. 2/3)
4. หารากที่สองและรากที่สามของจำนวนเต็มโดยการแยกตัวประกอบและนำไปใช้ในการแก้ปัญหา
พร้อมทั้งตระหนักถึงความสมเหตุสมผลของคำตอบ (ค 1.2 ม. 2/1)
5. อธิบายผลที่เกิดขึ้นจากการหารากที่สองและรากที่สามของจำนวนเต็ม
เศษส่วน และทศนิยม
บอกความสัมพันธ์ของการยกกำลังกับการหารากของจำนวนจริง
(ค 1.2 ม. 2/2)
6. หาค่าประมาณของรากที่สองและรากที่สามของจำนวนจริงและนำไปใช้ในการแก้ปัญหาพร้อมทั้ง
ตระหนักถึงความสมเหตุสมผลของคำตอบ
(ค 1.3 ม. 2/1)
7. บอกความเกี่ยวข้องของจำนวนจริงจำนวนตรรกยะและจำนวนอตรรกยะ (ค 1.4 ม. 2/1)
8. ใช้วิธีการที่หลากหลายแก้ปัญหา (ค 6.1 ม. 2/1)
9. ใช้ความรู้ ทักษะ
และกระบวนการทางคณิตศาสตร์ และเทคโนโลยีในการแก้ปัญหาใน
สถานการณ์ต่าง ๆ ได้อย่างเหมาะสม (ค 6.1
ม. 2/2)
10. ให้เหตุผลประกอบการตัดสินใจ และสรุปผลได้อย่างเหมาะสม (ค 6.1 ม. 2/3)
11. ใช้ภาษาและสัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์ในการสื่อสาร
การสื่อความหมาย และการนำเสนอ
ได้อย่างถูกต้อง และชัดเจน (ค 6.1
ม. 2/4)
12. เชื่อมโยงความรู้ต่าง
ๆ ในคณิตศาสตร์และนำความรู้ หลักการ กระบวนการทางคณิตศาสตร์
ไปเชื่อมโยงกับศาสตร์อื่น ๆ (ค 6.1
ม. 2/5)
13. มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ (ค 6.1 ม. 2/6)
3. จุดประสงค์การเรียนรู้
1. ระบุหรือยกตัวอย่างจำนวนจริง จำนวนอตรรกยะได้ (K)
2.
บอกความเกี่ยวข้องระหว่างจำนวนเต็ม จำนวนอตรรกยะได้
(K)
4. ตระหนักถึงความสมเหตุสมผลของคำตอบจากการคำนวณและการแก้ปัญหาได้(K)
5. ทำงานเป็นระเบียบเรียบร้อย รอบคอบ และมีความเชื่อมั่นในตนเอง (A)
6. การให้เหตุผล การสื่อสาร การสื่อความหมาย
การนำเสนอและการเชื่อมโยงหลักการความรู้
ทางคณิตศาสตร์กับศาสตร์อื่น (P)
4. การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
ด้านความรู้
(K)
วิธีการวัดผลและการประเมินผล
|
เครื่องมือวัดและประเมินผล
|
เกณฑ์การวัด
|
1.
สังเกตจากการซักถาม การแสดง
|
– แบบบันทึกผลการอภิปราย
|
ผ่านเกณฑ์เฉลี่ย
3 ขึ้นไป
|
ความคิดเห็น การให้ข้อเสนอแนะ
|
– แบบบันทึกความรู้
|
|
และการอภิปรายร่วมกัน
|
||
2. ตรวจผลการปฏิบัติตามกิจกรรม
|
– กิจกรรมฝึกหัด 1.1
|
ผ่านเกณฑ์เฉลี่ย
3 ขึ้นไป
|
ฝึกหัด 1.1
|
ด้านคุณธรรม
จริยธรรม และค่านิยม (A)
วิธีการวัดผลและการประเมินผล
|
เครื่องมือวัดและประเมินผล
|
เกณฑ์การวัด
|
1. สังเกตพฤติกรรมขณะทำงาน
|
– แบบประเมินพฤติกรรมขณะ
|
ผ่านเกณฑ์เฉลี่ย 3 ขึ้นไป
|
ร่วมกับกลุ่ม
|
ทำงานร่วมกับกลุ่ม
|
|
2.
ประเมินพฤติกรรมตามรายการ
|
– แบบประเมินด้านคุณธรรม
|
ผ่านเกณฑ์เฉลี่ย 3 ขึ้นไป
|
ด้านคุณธรรม จริยธรรม
|
จริยธรรม และค่านิยม
|
|
และค่านิยม
|
ด้านทักษะ/กระบวนการ (P)
วิธีการวัดผลและการประเมินผล
|
เครื่องมือวัดและประเมินผล
|
เกณฑ์การวัด
|
1.
สังเกตพฤติกรรมการสื่อสาร
|
– แบบประเมินด้านทักษะ/
|
ผ่านเกณฑ์เฉลี่ย
3 ขึ้นไป
|
การเชื่อมโยงหลักการความรู้
|
กระบวนการ
|
|
ทางคณิตศาสตร์
|
||
2.
ประเมินพฤติกรรมตามรายการ
|
||
ประเมินด้านทักษะ/กระบวนการ
|
||
3. สังเกตขณะปฏิบัติตามกิจกรรม
|
– กิจกรรมฝึกหัด 1.1
|
ผ่านเกณฑ์เฉลี่ย
3 ขึ้นไป
|
ฝึกหัด 1.1
|
5. สาระการเรียนรู้
จำนวนอตรรกยะ
6. แนวทางบูรณาการ
ภาษาไทย
จัดการพูดหน้าชั้นเรียนเรื่อง จำนวนอตรรกยะ
ศิลปะ
ทำแผ่นพับ ใบความรู้เกี่ยวกับจำนวนอตรรกยะ
ภาษาต่างประเทศ จัดป้ายนิเทศเกี่ยวกับจำนวนอตรรกยะ
7. กระบวนการจัดการเรียนรู
ขั้นที่
1 นำเข้าสู่บทเรียน
ครูนำแผ่นโครงสร้างของจำนวนติดบนกระดาน
แล้วทบทวนเรื่องจำนวนตรรกยะพร้อมทั้งยกตัวอย่างจำนวนตรรกยะ
ขั้นที่ 2 กิจกรรมการเรียนรู้
1. ครูเขียนจำนวนเหล่านี้บนกระดาน เช่น
0.25, 0.13, 0.131331333… บนกระดาน แล้วถาม นักเรียนว่าจาก 3
จำนวนนี้ มีจำนวนใดที่เป็นจำนวนตรรกยะเพราะเหตุใด
2. ครูอธิบายว่า
จำนวนที่ไม่ใช่จำนวนตรรกยะ เรียกว่า จำนวนอตรรกยะ
3. ครูยกตัวอย่างจำนวนในลักษณะต่อไปนี้
เช่น 0.4326825…, 5.16849… บนกระดาน แล้ว
ให้นักเรียนช่วยกันเขียนให้อยู่ในรูปเศษส่วน แล้วพิจารณาว่าเขียนในรูปเศษส่วนได้หรือ
ไม่
แล้วใช่จำนวนตรรกยะหรือไม่
4. ให้นักเรียนยกตัวอย่าง
จำนวนอตรรกยะทีละคน
5. ครูเขียนจำนวนต่อไปนี้บนกระดาน
เช่น
1.4142135... =
2
1.7320508... =
3
2 = 4
2.2360679... = 5
แล้วถามนักเรียนว่า 1.4142135... เป็นจำนวนอะไร ดังนั้น
2 เป็นจำนวนนั้นด้วยหรือไม่ แล้ว 2 = 4 เป็นจำนวนอะไร
4 ใช่จำนวนอตรรกยะหรือไม่
6. ครูยกตัวอย่างเพิ่มเติม
เช่น 6, 3.12, 13.00101001…, -8, 8 แล้วถามนักเรียนว่า
จำนวนเหล่านี้ใช่จำนวนอตรรกยะหรือไม่ อย่างไร
7. ให้นักเรียนหาค่าของ
3.18326...+18.91249... และ 3.18326 + 18.91249
ลงในสมุดทุกคน
8. ครูสุ่มถามคำตอบของนักเรียน
4–5 คน เปรียบเทียบคำตอบที่ได้ว่าเหมือนกันทั้ง 2 ข้อหรือไม่
อย่างไร
9.ให้นักเรียนหาผลบวก
ผลลบ ผลคูณ และผลหารของจำนวนดังกล่าว แล้วเปรียบเทียบคำตอบที่ได้ว่าเป็นอย่างไร
10. ร่วมกันอภิปรายเกี่ยวกับการหาคำตอบที่ได้จากการดำเนินการของจำนวนอตรรกยะ
ขั้นที่ 3 ฝึกฝนผู้เรียน
1.
ให้นักเรียนทำกิจกรรมฝึกหัด 1.1
2.
นักเรียนแต่ละกลุ่มส่งตัวแทนมานำเสนอคำตอบกิจกรรมฝึกหัด 1.1
ขั้นที่ 4 การนำไปใช้
นำความรู้ที่ได้จากการเรียนเรื่องนี้ไปใช้ในการเรียนเรื่อง
รากที่สองและรากที่สาม
ขั้นที่ 5 สรุปความคิดรวบยอด
นักเรียนช่วยกันสรุปบทเรียนเรื่อง
จำนวนอตรรกยะ
โดยครูให้ความช่วยเหลือและแนะนำ
เพื่อความสมบูรณ์ของบทเรียน
8. กิจกรรมเสนอแนะ
แบ่งนักเรียนเป็นกลุ่มให้แต่ละกลุ่มสร้างแบบทดสอบแบบปรนัย
จำนวน 20–30 ข้อ และครู
สามารถคัดเลือกมาเป็นแบบทดสอบนักเรียนได้
9. สื่อ/แหล่งการเรียนรู้
1. แผ่นโครงสร้างของจำนวน
2. หนังสือเรียน
รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์ ม. 2 เล่ม 2
แหล่งการเรียนรูเพิ่มเติม
1. หนังสือเสริมความรู้คณิตศาสตร์
2. สื่อการเรียนรู้
คณิตศาสตร์ สมบูรณ์แบบ ม. 2 เล่ม 2
3.
บุคคลต่าง ๆ เช่น ครู เพื่อน ญาติ ผู้รู้ด้านคณิตศาสตร์
4.
อินเทอร์เน็ต ข้อมูลในการศึกษาเรื่อง
จำนวนอตรรกยะ
10. บันทึกหลังการจัดการเรียนรู้
ห้อง
|
นักเรียนที่ผ่านจุดประสงค์การเรียนรู้(จำนวน)
|
คิดเป็น
ร้อยละ
|
นักเรียนที่ไม่ผ่านจุดประสงค์การเรียนรู้(จำนวน)
|
คิดเป็น
ร้อยละ
|
รายชื่อนักเรียนที่ไม่ผ่านจุดประสงค์การเรียนรู้
|
ม. 2 /…
|
|||||
ม. 2 /…
|
|||||
ม. 2 /…
|
|||||
ม. 2 /…
|
|||||
ม. 2 /…
|
สาเหตุที่ไม่ผ่านจุดประสงค์การเรียนรู้
........................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................
ปัญหา / อุปสรรค
..................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................
ข้อเสนอแนะ
........................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................แหล่งที่มา
www.cbs.ac.th/upload/myfile/จำนวนจริง%20(ซ่อมแซม).docx
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น